ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
โดยหลักการแล้ว ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ที่ทำงานตามหน้าที่ 4 ส่วนด้วยกัน คือ
1.) ส่วนรับข้อมูล (Input Unit)
2.) ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit)
3.) ส่วนแสดงผล (Output Unit)
4.) หน่วยความจำ (Memory Unit)
1.) ส่วนรับข้อมูล (Input Unit)
ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) เป็น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลจากคน และส่งต่อข้อมูลไปยัง หน่วยประมวลผล(Process Unit) เพื่อทำการประมวลผลต่อไป รูปแบบการส่งข้อมูลจากอุปกรณ์รับข้อมูลจะอยู่ในรูปของการส่งสัญญาณเป็นรหัสดิจิตอล (หรือเป็นเลข 0 กับ 1) นั่นเอง อุปกรณ์ส่วนรับข้อมูล ได้แก่
- คีย์บอร์ด (keyboard)
- เมาส์ (mouse)
- สแกนเนอร์ (scanner)
- อุปกรณ์สแกนลายนิ้วมือ (finger scan)
- ไมโครโฟน(microphone)
- กล้องเว็บแคม (webcam)
อุปกรณ์ใน ส่วนรับข้อมูล ยังมีอีกมากมายและสามารถจะยังมีเพิ่มตามขึ้นไปเรื่อยๆ ตามการพัฒนาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
2.) ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit)
ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit) เป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่รับมาจาก ส่วนรับข้อมูล(Input Unit) เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ อีกทั้งยังทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานต่างๆ ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
3.) หน่วยแสดงผล (Output Unit)
หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็นหน่วยที่แสดงผลลัพธ์ที่มาจากการประมวลผลข้อมูล ของส่วนประมวลผลข้อมูล โดยปกติรูปแบบของการแสดงผล มีอยู่ 2 แบบ ด้วยกันคือ แบบที่สามารถเก็บไว้ดูภายหลังได้ และแบบที่ไม่มีสำเนาเก็บไว้
- แบบที่สามารถเก็บไว้ดูภายหลังได้ เช่น เครื่องพิมพ์ (Printer) และ เครื่องวาด (Plotter) เครื่องพิมพ์ (Printer)
เครื่องวาด (Plotter)
- แบบที่ไม่มีสำเนาเก็บไว้ เช่น จอภาพ(Monitor) , เครื่องฉายภาพ(LCD Projector) และ ลำโพง (Speaker)
จอภาพ (monitor) เครื่องฉายภาพ (LCD Projector)
4.) หน่วยความจำ (Memory Unit)
หน่วยความจำ (Memory Unit) อุปกรณ์เก็บสถานะข้อมูลและชุดคำสั่ง เพื่อการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ หน่วยความจำชั่วคราวและหน่วยความจำถาวร
- หน่วยความจำชั่วคราว คือ แรม (RAM: Random Access Memory)เป็นหน่วยความจำที่ใช้ขณะคอมพิวเตอร์ทำงาน ข้อมูลและชุดคำสั่งจะหายไปทุกครั้งที่เราปิดเครื่อง
- หน่วยความจำถาวรหรือ หน่วยความจำหลัก ได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ Hard Disk ที่ใช้ในการเก็บข้อมูล และ รอม (ROM: Read Only Memory) ที่ใช้ในการเก็บค่าไบออส หน่วยความจำถาวรจะใช้ในการเก็บข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์และจะไม่สูญหายเมื่อปิดเครื่อง
วันอาทิตย์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2553
วันพุธที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2553
โปรแกรมล็อกโฟลเดอร์
สำหรับวิธีการล็อกโฟลเดอร์ที่เราอยากจะเก็บไว้เป็นความลับไม่ต้องการให้คนอื่นมาเปิดดู วิธีการง่ายๆ ให้คุณสร้างโฟลเดอร์ที่ต้องการจะเก็บไฟล์ ในที่นี้ขอสร้างเป็นชื่ Begin วิธีการสร้างโฟลเดอร์ทุกคนคงรู้อยู่แล้ว ให้เปิด Notepad แล้วพิมพ์ รูปแบบของการเขียนไฟล์ปลดล็อก.bat
ren ชื่อโฟลเดอร์.{20D04FE0-3AEA-1069-A2D8-08002B30309D}ชื่อโฟลเดอร์
ดังนั้นเราจึงต้องพิมพ์ว่า ren Begin.{20D04FE0-3AEA-1069-A2D8-08002B30309D} Begin
(คำแนะนำตรงชื่อโฟลเดอร์ห้ามเว้นวรรค เช่น New Folder เพราะว่าใน Command ไม่รู้จักวรรค มันจะหาแค่โฟลเดอร์ที่ชื่อว่า New เท่านั้น)
จากนั้นให้ไปที่ File -> Save As ตั้งชื่อว่า Key.bat จากนั้นกลับมาที่ Notepad อีกครั้งเพื่อเขียนโปรแกรมยกเลือกการล็อก (ปลดล็อก) ให้แก้โค้ดเป็นรูปแบบดังนี้
ren ชื่อโฟลเดอร์ ชื่อโฟลเดอร์. {20D04FE0-3AEA-1069-A2D8-08002B30309D}
ระหว่างชื่อโฟลเดอร์ให้เคาะหนึ่งเคาะ แล้วก็ตามด้วยชื่อโฟลเดอร์ จะได้โค้ดเป็น
ren Begin Begin.{20D04FE0-3AEA-1069-A2D8-08002B30309D}
จากนั้นให้ไปที่ File -> Save As ตั้งชื่อว่า Lock.bat เมื่อคุณต้องการล็อกโฟลเดอร์ ให้ดับเบิลคลิกที่ไฟล์ Lock.bat เมื่อคุณต้องการ ปลดล็อกโฟลเดอร์ ให้ดับเบิลคลิกที่ไฟล์ Key.bat พอกดล็อกแล้วโฟลเดอร์ที่ล็อก ลองเอาไปเล่นดู
ren ชื่อโฟลเดอร์.{20D04FE0-3AEA-1069-A2D8-08002B30309D}ชื่อโฟลเดอร์
ดังนั้นเราจึงต้องพิมพ์ว่า ren Begin.{20D04FE0-3AEA-1069-A2D8-08002B30309D} Begin
(คำแนะนำตรงชื่อโฟลเดอร์ห้ามเว้นวรรค เช่น New Folder เพราะว่าใน Command ไม่รู้จักวรรค มันจะหาแค่โฟลเดอร์ที่ชื่อว่า New เท่านั้น)
จากนั้นให้ไปที่ File -> Save As ตั้งชื่อว่า Key.bat จากนั้นกลับมาที่ Notepad อีกครั้งเพื่อเขียนโปรแกรมยกเลือกการล็อก (ปลดล็อก) ให้แก้โค้ดเป็นรูปแบบดังนี้
ren ชื่อโฟลเดอร์ ชื่อโฟลเดอร์. {20D04FE0-3AEA-1069-A2D8-08002B30309D}
ระหว่างชื่อโฟลเดอร์ให้เคาะหนึ่งเคาะ แล้วก็ตามด้วยชื่อโฟลเดอร์ จะได้โค้ดเป็น
ren Begin Begin.{20D04FE0-3AEA-1069-A2D8-08002B30309D}
จากนั้นให้ไปที่ File -> Save As ตั้งชื่อว่า Lock.bat เมื่อคุณต้องการล็อกโฟลเดอร์ ให้ดับเบิลคลิกที่ไฟล์ Lock.bat เมื่อคุณต้องการ ปลดล็อกโฟลเดอร์ ให้ดับเบิลคลิกที่ไฟล์ Key.bat พอกดล็อกแล้วโฟลเดอร์ที่ล็อก ลองเอาไปเล่นดู
วันพุธที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2553
วันอังคารที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2553
แบบฝึกหัดบทที่ 1 ตอนที่ 2
ตอนที่2
1. ข้อใดคือขั้นตอนที่สำคัญก่อนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ตอบ ก.กำหนดขอบเขตของปัญหา
2. การคอมไพล์โปรแกรมหมายถึงข้อใด
ตอบ ค.การคอมไพล์ให้เป็นภาษาเครื่อง
3. ข้อใดคือขั้นตอนการพัฒนาลำดับขั้นตอนการทำงานเพื่อเเก้ปัญหา
ตอบ ค.การรวบรวมรายละเอียดของปัญหา
4. หน่วยความจำมีหน้าที่อย่างไร
ตอบ ข.อุปกรณ์ที่ใช้เก็บ-จำข้อมูล
5. ข้อใดกล่าวถึงคำว่า "แอดเดรส"
ตอบ ค.แสดงถึงตำแหน่ง
6.ตรรกะมีความหมายอย่างไร
ตอบ ง.เหตุผลที่ใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ
7.MOD หมายถึงกาหารในลักษณะใด
ตอบ ข.การหารโดยคิดเฉพาะเศษที่ได้จากการหาร
8.ข้อใดคือสัญลักษณ์ทางตรรกะศาสตร์
ตอบ ก.And, Or, Not
9.สัญลักษณ์เซตนี้ ใช้เเทนความหมายข้อใด
ตอบ ข.เป็นสมาชิก
10.สัญลักษณ์ ใช้เเทนความหมายข้อใด
ตอบ ค.ไม่เป็นสมาชิก
11.หลักเกณฑ์การแก้ปัญหาโจทย์ด้วยคอมพิวเตอร์มีกี่ข้อ
ตอบ ง. 5 ข้อ
12.ข้อใดถือว่าเป็นหัวใจสำคัญของการเขียนโปรแกรม
ตอบ ข.การเเก้ปัญหาโจทย์ด้วยคอมพิวเตอร์
13.ข้อใดคือลำดับขั้นตอนการทำงานแรกของวิธีการประมวลผล
ตอบ ก.การรับข้อมูล
14.ข้อใดคือลำดับขั้นตอนการทำงานที่สองของวิธีการประมวลผล
ตอบ ข.การประมวลผล
15.ข้อใดคือลำดับขั้นตอนการทำงานที่สามของวิธีการประมวลผล
ตอบ ค.การแสดงผลลัพธ์
1. ข้อใดคือขั้นตอนที่สำคัญก่อนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ตอบ ก.กำหนดขอบเขตของปัญหา
2. การคอมไพล์โปรแกรมหมายถึงข้อใด
ตอบ ค.การคอมไพล์ให้เป็นภาษาเครื่อง
3. ข้อใดคือขั้นตอนการพัฒนาลำดับขั้นตอนการทำงานเพื่อเเก้ปัญหา
ตอบ ค.การรวบรวมรายละเอียดของปัญหา
4. หน่วยความจำมีหน้าที่อย่างไร
ตอบ ข.อุปกรณ์ที่ใช้เก็บ-จำข้อมูล
5. ข้อใดกล่าวถึงคำว่า "แอดเดรส"
ตอบ ค.แสดงถึงตำแหน่ง
6.ตรรกะมีความหมายอย่างไร
ตอบ ง.เหตุผลที่ใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ
7.MOD หมายถึงกาหารในลักษณะใด
ตอบ ข.การหารโดยคิดเฉพาะเศษที่ได้จากการหาร
8.ข้อใดคือสัญลักษณ์ทางตรรกะศาสตร์
ตอบ ก.And, Or, Not
9.สัญลักษณ์เซตนี้ ใช้เเทนความหมายข้อใด
ตอบ ข.เป็นสมาชิก
10.สัญลักษณ์ ใช้เเทนความหมายข้อใด
ตอบ ค.ไม่เป็นสมาชิก
11.หลักเกณฑ์การแก้ปัญหาโจทย์ด้วยคอมพิวเตอร์มีกี่ข้อ
ตอบ ง. 5 ข้อ
12.ข้อใดถือว่าเป็นหัวใจสำคัญของการเขียนโปรแกรม
ตอบ ข.การเเก้ปัญหาโจทย์ด้วยคอมพิวเตอร์
13.ข้อใดคือลำดับขั้นตอนการทำงานแรกของวิธีการประมวลผล
ตอบ ก.การรับข้อมูล
14.ข้อใดคือลำดับขั้นตอนการทำงานที่สองของวิธีการประมวลผล
ตอบ ข.การประมวลผล
15.ข้อใดคือลำดับขั้นตอนการทำงานที่สามของวิธีการประมวลผล
ตอบ ค.การแสดงผลลัพธ์
แบบฝึกหัดบทที่ 1 ตอนที่ 1
แบบฝึกหัดบทที่ 1
ตอนที่ 1
1.จงบอกขั้นตอนการเขียนโปรแกรมเป็นข้อ ๆ
ตอบ 1.กำหนดขอบเขตของปัญหา
2.การพัฒนาลำดับขั้นตอนการทำงานเพื่อแก้ปัญหา
3.การออกเเบบโปรแกรม
4.เขียนโปรแกม
5.การคอมไพล์โปรแกรม
6.การทดสอบโปแกรม
7.การจัดทำเอกสารประกอบโปรแกรม
2.โครงส้างของคอมพิวเตอร์มีกี่หน่วย อะไรบ้าง
ตอบ 5 หน่วย ประกอบด้วย
- หน่วยรับข้อมูล
- หน่วยความจำ
- หน่วยคำนวณ
- หน่วยควบคุม
- หน่วยเเสดงผล
3. จงอธิบายความหมายของตรรกะ
ตอบ ตรรกะ (Logic) หมายถึง เหตุผลที่ใช้ในการเเก้ปัญหาต่าง ๆ
4. ให้ยกตัวอย่างตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตอบ เช่น DIV คือ การหารโดยคิดเฉพาะจำนวนเต็มที่ได้จากหารหารMOD คือ กาหารโดยคิดเฉพาะเศษที่ได้จากการหาร
5. จงอธิบายความหมายขอเซต
ตอบ (Set) ในทางคณิตศาสตร์ เราใช้คำว่าเซตในความหมายของคำว่า กลุ่ม หมู่ เหล่า กอง ฝูง ชุด และเมื่อกล่างถึงเซตของสิ่งใด ๆ จะทราบได้ทันทีว่าในเซตนั้นมีอะไรบ้าง เราเรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิก
6. จงบอกสัญลักษณ์ที่ใช้เเทนเซต ชื่อและสมาชิกของเซต
ตอบ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเซต ชื่อและสมาชิกของเซต
1 . สามารถใช้วงกลม, วงรี แทนเซตต่าง ๆ ได้
2.ชื่อเซตนิยมใช้ตัวใหญ่ทั้งหมด เช่น A, B, C, ...
3.สัญลักษณ์ แทนคำว่า "เป็นสมาชิกของ" แทนคำว่า "ไม่เป็นสมาชิกของ"
7. จงอธิบายเซตว่างเเตกต่างกับเซตจำกัดอย่างไร
ตอบ เซตว่าง คือ เซตที่ไม่มีสมาชิก ส่วน เซตจำกัค คือเซตที่มีสมาชิกจำนวนเต็มบวก
8. จงบอกหลักเกณฑ์การเเก้ปัญหาโจทย์ด้วยคอมพิวเตอร์
ตอบ หลักเกณฑ์กาเเก้ปัญหาด้วยคอมประกอบด้วย
1. สิ่งที่โจทย์ต้องการ
2. รูปแบบของผลลัพธ์ที่ต้องการ
3. ข้อมูลนำเข้า
4. ตัวแปรที่ใช้
5. วิธีการประมวลผล
9. ให้ยกตัวอย่างชื่อตัวแปรและใช้เเทนตัวแปรอะไร อย่างน้อย 3 ตัวแปร
ตอบ 1. Code รหัส
2. Name ชื่อ
3. Salary เงินเดือน
4. Tax ภาษี
5. Net เงินสุทธิ
10. จงบอกลำดับขั้นตอนการทำงานของวิธีการประมวลผล
ตอบ 1. เริ่มจากการรับข้อมูล
ขั้นที่ 1 กำหนดค่าผลรวมให้เป็น 0 เช่น ( Sum = 0 )
ขั้นที่ 2 อ่านค่าตัวเเปร X
2. การประมวลผล
ขั้นที่ 3 คำนวณผลรวม Sum = Sum + X-
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบเงื่อนไงว่า X = 100 หรือยัง
3. การเเสดงผลลัพธ์
ขั้นที่ 5 ถ้าครบ พิมพ์ค่าผลรวม "SUM of 1-100 =" , Sun
ขั้นที่ 6 จบการทำงาน
ตอนที่ 1
1.จงบอกขั้นตอนการเขียนโปรแกรมเป็นข้อ ๆ
ตอบ 1.กำหนดขอบเขตของปัญหา
2.การพัฒนาลำดับขั้นตอนการทำงานเพื่อแก้ปัญหา
3.การออกเเบบโปรแกรม
4.เขียนโปรแกม
5.การคอมไพล์โปรแกรม
6.การทดสอบโปแกรม
7.การจัดทำเอกสารประกอบโปรแกรม
2.โครงส้างของคอมพิวเตอร์มีกี่หน่วย อะไรบ้าง
ตอบ 5 หน่วย ประกอบด้วย
- หน่วยรับข้อมูล
- หน่วยความจำ
- หน่วยคำนวณ
- หน่วยควบคุม
- หน่วยเเสดงผล
3. จงอธิบายความหมายของตรรกะ
ตอบ ตรรกะ (Logic) หมายถึง เหตุผลที่ใช้ในการเเก้ปัญหาต่าง ๆ
4. ให้ยกตัวอย่างตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตอบ เช่น DIV คือ การหารโดยคิดเฉพาะจำนวนเต็มที่ได้จากหารหารMOD คือ กาหารโดยคิดเฉพาะเศษที่ได้จากการหาร
5. จงอธิบายความหมายขอเซต
ตอบ (Set) ในทางคณิตศาสตร์ เราใช้คำว่าเซตในความหมายของคำว่า กลุ่ม หมู่ เหล่า กอง ฝูง ชุด และเมื่อกล่างถึงเซตของสิ่งใด ๆ จะทราบได้ทันทีว่าในเซตนั้นมีอะไรบ้าง เราเรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิก
6. จงบอกสัญลักษณ์ที่ใช้เเทนเซต ชื่อและสมาชิกของเซต
ตอบ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเซต ชื่อและสมาชิกของเซต
1 . สามารถใช้วงกลม, วงรี แทนเซตต่าง ๆ ได้
2.ชื่อเซตนิยมใช้ตัวใหญ่ทั้งหมด เช่น A, B, C, ...
3.สัญลักษณ์ แทนคำว่า "เป็นสมาชิกของ" แทนคำว่า "ไม่เป็นสมาชิกของ"
7. จงอธิบายเซตว่างเเตกต่างกับเซตจำกัดอย่างไร
ตอบ เซตว่าง คือ เซตที่ไม่มีสมาชิก ส่วน เซตจำกัค คือเซตที่มีสมาชิกจำนวนเต็มบวก
8. จงบอกหลักเกณฑ์การเเก้ปัญหาโจทย์ด้วยคอมพิวเตอร์
ตอบ หลักเกณฑ์กาเเก้ปัญหาด้วยคอมประกอบด้วย
1. สิ่งที่โจทย์ต้องการ
2. รูปแบบของผลลัพธ์ที่ต้องการ
3. ข้อมูลนำเข้า
4. ตัวแปรที่ใช้
5. วิธีการประมวลผล
9. ให้ยกตัวอย่างชื่อตัวแปรและใช้เเทนตัวแปรอะไร อย่างน้อย 3 ตัวแปร
ตอบ 1. Code รหัส
2. Name ชื่อ
3. Salary เงินเดือน
4. Tax ภาษี
5. Net เงินสุทธิ
10. จงบอกลำดับขั้นตอนการทำงานของวิธีการประมวลผล
ตอบ 1. เริ่มจากการรับข้อมูล
ขั้นที่ 1 กำหนดค่าผลรวมให้เป็น 0 เช่น ( Sum = 0 )
ขั้นที่ 2 อ่านค่าตัวเเปร X
2. การประมวลผล
ขั้นที่ 3 คำนวณผลรวม Sum = Sum + X-
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบเงื่อนไงว่า X = 100 หรือยัง
3. การเเสดงผลลัพธ์
ขั้นที่ 5 ถ้าครบ พิมพ์ค่าผลรวม "SUM of 1-100 =" , Sun
ขั้นที่ 6 จบการทำงาน
หลักการเขียนโปรแกรม
จุดประสงค์รายวิชา
1.มีทักษะในการวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
2.เพื่อแก้ปัญหาอย่างน้อย
3.รู้ขั้นตอนวิธีการเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา
4.มีทักษะในการเขียนผังงาน (Flowchart)
5.มีทักษะในการเขียนรหัสเทียม (Pseudocobe) จากผังงาน
6.ออกเเบบและพัฒนาโปรอกรมขนาดเล็ก
7.มีกิจนิสัยการทำงานอย่างมีระเบียบมาตราฐานรายวิชา
อธิบายความหมายและความสำคัญของหลักการเขียนโปรแกรม
1.วิเคราะห์ขั้นตอน วิธีการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
2.ประยุกต์ใช้ผังงานและรหัสเทียมช่วยการเขียนโปรแกรม
3.ออกแบบโปรแกรมขนาดเล็ก
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการ ขั้นตอน วิธีวิเคราะห์ปัญหาเขียนโปรแกรม กระบวนการทำงานในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ ตรรกะกับเซต ตรรกะกับการเเก้โจทย์ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ การเขียนผังงาน การเขียนรหัสเทียม การออกเเบบและพัฒนาโปรแกรมขนาดเล็ก
1.มีทักษะในการวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
2.เพื่อแก้ปัญหาอย่างน้อย
3.รู้ขั้นตอนวิธีการเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา
4.มีทักษะในการเขียนผังงาน (Flowchart)
5.มีทักษะในการเขียนรหัสเทียม (Pseudocobe) จากผังงาน
6.ออกเเบบและพัฒนาโปรอกรมขนาดเล็ก
7.มีกิจนิสัยการทำงานอย่างมีระเบียบมาตราฐานรายวิชา
อธิบายความหมายและความสำคัญของหลักการเขียนโปรแกรม
1.วิเคราะห์ขั้นตอน วิธีการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
2.ประยุกต์ใช้ผังงานและรหัสเทียมช่วยการเขียนโปรแกรม
3.ออกแบบโปรแกรมขนาดเล็ก
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการ ขั้นตอน วิธีวิเคราะห์ปัญหาเขียนโปรแกรม กระบวนการทำงานในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ ตรรกะกับเซต ตรรกะกับการเเก้โจทย์ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ การเขียนผังงาน การเขียนรหัสเทียม การออกเเบบและพัฒนาโปรแกรมขนาดเล็ก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)